หน่วยงาน : สถาบันวิจัยและพัฒนา

พัฒนาระบบโดย นายกุลชาติ ปัญญาดี สำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

เบอร์ติดต่อ

053-885985-7

โทรสาร

053-885987

คำอธิบายตัวบ่งชี้


สถาบันวิจัยและพัฒนามีการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพให้อาจารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัย  ในการเขียนโครงการวิจัยเพื่อเสนอขอทุนวิจัยจากแหล่งงบประมาณภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งมีกองทุนวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สนับสนุนการให้ทุนแก่นักวิจัยรุ่นใหม่ในทุกปี เพื่อส่งเสริมผลักดันให้อาจารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัยขอทุนวิจัยเพิ่มขึ้น

นักวิจัยรุ่นใหม่ หมายถึง อาจารย์ประจำหรือบุคลากรสายสนับสนุนที่มีประสบการณ์ด้านการวิจัยไม่เกิน 5 ปี


รอบระยะเวลา



เกณฑ์มาตรฐาน


โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิจัยได้รับทุนภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยของนักวิจัยรุ่นใหม่ เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 ดังนี้

ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิจัยได้รับทุนภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยของนักวิจัยรุ่นใหม่ ที่กำหนดไว้ให้คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 10 ขึ้นไป

 


เกณฑ์การประเมิน

มีการดำเนินการ ร้อยละ 0-2.49

มีการดำเนินการ ร้อยละ 2.50-4.99

มีการดำเนินการ ร้อยละ 5.0-7.49

มีการดำเนินการ ร้อยละ 7.5-9.9

มีการดำเนินการ ร้อยละ 10 ขึ้นไป

ร้อยละ 4

ร้อยละ 4

5

บรรลุ

5

5

จุดแข็ง

  1. หน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัย มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ เช่นโครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)  โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย หัวข้อ “การพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย จากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ประจำปีงบประมาณ 2566” เป็นต้น
  2. มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งกองทุนวิจัยที่มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีงบประมาณ พร้อมให้การสนับสนุน
  3. สถาบันวิจัยและพัฒนา มีระบบและกลไกในการสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ เช่น การจัดเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือนักวิจัยในการส่งโครงร่าง การแบ่งสัดส่วนการจัดสรรทุนวิจัยสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ การประชาสัมพันธ์ทุนวิจัยต่างๆ และการจัดหาผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาประเมินโครงร่างวิจัยก่อนส่งไปแหล่งทุน เป็นต้น

จุดที่ควรพัฒนา

  1. การสร้างแรงจูงใจให้กับอาจารย์และบุคลากร นักวิจัยรุ่นใหม่ในการเสนอขอทำงานวิจัยเพิ่มยิ่งขึ้น
  2. อาจารย์มีภาระงานสอนค่อนข้างมากจึงเป็นอุปสรรคในการทำวิจัยของอาจารย์ใหม่

ข้อเสนอแนะ

-


อาจารย์ ดร.อัครสิทธิ์ บุญส่งแท้ 053-88-5950
ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ โชติกเดชาณรงค์ 053-88-5950

โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิจัยได้รับทุนภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยของนักวิจัยรุ่นใหม่ เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 ดังนี้

ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิจัยได้รับทุนภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยของนักวิจัยรุ่นใหม่ ที่กำหนดไว้ให้คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 10 ขึ้นไป

ผลการดำเนินงาน


ตาราง สรุปคะแนนผลการประเมินร้อยละของจำนวนนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ได้รับทุนภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย

ที่

คณะ/หน่วยงาน

จำนวนนักวิจัยที่ได้รับทุนวิจัย (คน)

จำนวนนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ได้รับทุนวิจัย (คน)

ร้อยละของจำนวนนักวิจัยรุ่นใหม่

1

ครุศาสตร์

11

1

9.09

2

เทคโนโลยีการเกษตร

6

2

33.33

3

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

22

11

50.00

4

วิทยาการจัดการ

21

4

19.05

5

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

39

12

30.77

6

บัณฑิตวิทยาลัย

1

0

0.00

7

วิทยาลัยนานาชาติ

5

4

80.00

8

วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน

8

3

37.50

9

วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแห่งเอเชีย

5

2

40.00

10

สถาบันวิจัยและพัฒนา

3

3

100.00

11

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

1

1

100.00

12

สำนักหอสมุด

3

3

100.00

13

โรงเรียนสาธิต

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

1

0

0.00

14

ศูนย์พัฒนามนุษย์และบุคคลที่มีความพิการ

1

1

100.00

รวม

127

47

37.01

ร้อยละของจำนวนนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ได้รับทุนภายในหรือภายนอก รวม 14 หน่วยงาน = (47/127) x 100 = ร้อยละ 37.01

แปลงเป็นค่าคะแนน = 5 คะแนน

 

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
2.4-1-1 รายชื่อนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ได้รับทุนภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2565

ระบบบริหารจัดการงานประกันคุณภาพ
หน่วยงานสนับสนุน

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีประมาณ 2563

สถาบันวิจัยและพัฒนา

202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
โทร. 0-5388-5924, โทรสาร. 0-5388-5924 admin@cmru.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2561, สำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่